Page 8 - รายงาน TFE ผอ.วิทยา
P. 8

2





                                                                                                           ู
                       ให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายเป็นเครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสตร
                                                                                                          ั
                       (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: 20) คุณภาพการศึกษาของคนในประเทศเป็นสิ่งที่จะชี้นำการพัฒนาสงคม
                       เศรษฐกิจและการเมืองในอนาคต การศึกษาเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาศักยภาพและ
                       ความสามารถด้านต่าง ๆ ในการประกอบอาชีพและดำรงชีวิตอย่างมีความสุข คุณภาพการศึกษา จึงเป็น

                       ประเด็นที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งของสังคม ซึ่งสังคมไทยและกระทรวงศึกษาธิการกำลังให้ความสำคัญ
                       เป็นอันดับต้นๆ และพยายามพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทุกแห่งให้สูงขึ้น ดังนั้นองค์การ
                                                                                                   ู้
                                                                                                         ุ
                                                                     ็
                                                         ุ
                       ทางการศึกษาต้องมองเรื่องการปรับปรุงคณภาพว่าจำเปนจะตองดำเนินการอย่างไร เพื่อให้ผเรียนทกคน
                                                                          ้
                                                                                         ์
                                                                                                  ู
                                                                                                         ึ
                       ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ ตามคุณลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสตรการศกษา
                       ขั้นพื้นฐานอย่างเต็มศักยภาพ (จรุญ จับบัง และคณะ. 2555: 61)
                                                      ี่
                                 ครู ถือเป็นบุคคลสำคัญทสุดในกระบวนการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้เป็น
                                                             ี่
                       ปัจจัยสำคัญมากทสุดในห้องเรียนและเป็นผู้ทมีความสำคัญต่อคุณภาพการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นผู้นําแห่ง
                                      ี่
                                                                                                           ั
                                                    ั้
                       การเปลยนแปลง (Chang agent) ทงนี้เพราะคุณภาพของผู้เรียนขึ้นอยู่กับคุณภาพของครูเป็นปัจจัยสำคญ
                             ี่
                                                                     ี่
                                      ี่
                       ในระดับโรงเรียนทส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากทสุด และถือว่าเป็นวิชาชีพทสำคัญสามารถกำหนด
                                                                                           ี่
                       คุณภาพพลเมืองของชาติได สงทสำคัญทมีส่วนเกี่ยวข้องตงไว้เป็นประเด็นสำคัญทชดเจน คือ การกำหนด
                                                        ี่
                                                  ี่
                                               ิ่
                                             ้
                                                                                         ี่
                                                                      ั้
                                                                                           ั
                                                                                                     ึ
                                                   ั้
                                                                        ้
                                                                                   ิ
                                  ี่
                       คุณลักษณะทพึงประสงคของครู ทงนี้เพื่อเป็นการกำหนดเปาหมายและทศทางของการจัดการศกษาและ
                                           ์
                                                                                                  ี่
                                         ี่
                       องค์ประกอบอื่น ๆ ทส่งเสริมสนับสนุนและเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครูให้ไปในทิศทางทถูกต้องและ
                       ตอบสนองต่อการพัฒนาการทางสังคมให้ก้าวทันและก้าวนําโลกในอนาคต (เจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม.
                       2554: 28) ดังนั้นการพัฒนาครูจึงต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและเน้นความร่วมมือในการพัฒนา
                                                                                   ี่
                                                                                  ิ
                                                                               ิ
                                                                                                            ั้
                       จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในแนวปฏบัตทเป็นที่ยอมรับของสงคมรวมทง
                                                                                                   ั
                       การสร้างมุมมองใหม่สำหรับการเปลยนแปลงเพื่อมุ่งสศตวรรษท 21 (Fogarty and Pete. 2010: 97) ซึ่ง
                                                                           ี่
                                                    ี่
                                                                  ู่
                       จำเป็นต้องมีการดำเนินการที่เน้นการมีส่วนร่วม ผ่านการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
                       Learning Communities : PLC) เพื่อเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับการสื่อสารเพื่อร่วมกันพัฒนา
                       อย่างเป็นรูปธรรม เพราะชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นการทำงานที่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการร่วมกัน
                       สะท้อนผลการดำเนินงานอย่างสร้างสรรค ซึ่งจะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องในการทำงานไดมีโอกาส
                                                                                                      ้
                                                         ์
                       พูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งจะทำให้ค้นพบวิธีการทำงาน
                       ร่วมกันที่จะสามารถดำเนินการพัฒนานักเรียนได้ตามศักยภาพของแต่ละคน (DuFour and others.
                                                     ์
                       2010: 9 – 14) สอดคล้องกับวิจารณ พาณิช (2555: 2) กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ร่วมกันพัฒนา
                                                                                      ี่
                       ผ่านชุมชนทางวิชาชีพส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากทสุด นอกจากนี้การศึกษาท ี่
                       ประสานกลมกลืนกับความสามารถตามธรรมชาติของแต่ละคนจะก่อให้เกิดปัญญา และพฤติกรรมของ
                       บุคคลที่แสดงออกในวิถีชีวิตสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือการทำให้คนคิดเป็น วิเคราะห์
                       เป็น ประยุกต์ใช้ความรู้ได เกิดความสมดุลระหว่างความเป็นท้องถิ่นกับความเป็นสากลและเน้นสิ่งท ี่
                                             ้
                       สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ชาติไทย (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2542: 183-196)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13